หลักสูตร พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
(Doctor of Buddhism)
เกี่ยวกับหลักสูตร
- ชื่อเต็มภาษาไทย : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
- ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Buddhism
- ชื่อย่อภาษาไทย : พธ.ด.
- ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : D.B.
ระบบการจัดการศึกษา
๑) หลักสูตรแบบ ๒.๑ รวมค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร (แผน ก.) ๒๔๐,๐๐๐ บาท
จำนวน ๕๔ หน่วยกิต ตลอดหลักสูตร ๓ ปีการศึกษา
วัน-เวลา ในการดำเนินการเรียนการสอน
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ โดยแบ่งเป็นภาคการศึกษาดังนี้
ภาคเรียนที่ ๑ | มิถุนายน – ตุลาคม | เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. |
ภาคเรีนยที่ ๒ | พฤศจิกายน – มีนาคม | เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. |
ภาคการศึกษาฤดูร้อน | เมษายน – พฤษภาคม | เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. |
เว็บไซต์
ระบบการพิจารณารับรองคุณวุฒิด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Accredit) | >> Click << |
คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ที่ | ชื่อ-ฉายา/นามสกุล | คุณวุฒิ/สาขา | ติดต่อ | |
๑ | ผศ.ดร.พงษ์ประภากรณ์ สุระรินทร์ |
| ||
๒ | ผศ.ดร.ชูชาติ สุทธะ |
| ||
๓ | ดร.นภาพร หงษ์ทอง |
|
อาจารย์ประจำหลักสูตร
คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
๑. แบบ ๑.๑ และแบบ ๒.๑ เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และต้องมีคุณสมบัติอื่นที่มหาวิทยาลัยกำหนดว่าด้วยคุณสมบัติผู้เข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
๒. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ได้รับค่าเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม ยกเว้นผู้มีประสบการณ์ทำงานในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓ ปี นับแต่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท หรือมีผลงานทางวิชาการที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ
๓. มีผลการสอบวัดผลความรู้ด้านภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
๔. ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การรับสมัคร
๑. สมัครด้วยตนเอง สำนักงานบัณฑิตวิทยาลัย อาคารเรียนรวม (พระอุบาลีคุณูปมาจารย์) ชั้น ๑
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา
๒. สมัครผ่านระบบออนไลน์ คลิกลิงค์ –> <<สมัครออนไลน์>>
๓. สอบถามข้อมูลที่ได้ ผศ.ดร.ชูชาติ สุทธะ เบอร์โทรศัพท์ ๐๙-๒๔๕๙-๖๒๘๗
เอกสารประกอบการรับสมัคร
๑ | สำเนาใบปริญญาบัตรและใบแสดงผลคะแนนวิชาระดับปริญญาโท | จำนวน ๑ ชุด |
๒ | สำเนาหนังสือสุทธิ สำหรับพระภิกษุ/สามเณร หรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน/ข้าราชการ สำหรับคฤหถัสถ์ | จำนวน ๒ ฉบับ |
๓ | สำเนาทะเบียนบ้าน | จำนวน ๒ ฉบับ |
๔ | รูปถ่ายขนาด ๑ นิ้ว สำหรับติดใบสมัครและบัตรประจำตัวผู้สมัครที่ติดรูปถ่าย | จำนวน ๔ รูป |
๕ | หลักฐานอื่น (ถ้ามี) เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล | จำนวน ๒ ชุด |
๖ | โครงร่างวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ (สำหรับสอบสัมภาษณ์) | จำนวน ๑ ชุด |
๖ | ผลคะแนนภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง ซึ่งมีผลการสอบอายุไม่เกิน ๒ ปี (ถ้ามี) |
สถานที่รับสมัคร
๑. สำนักงานบัณฑิตศึกษา อาคารเรียนรวม (พระอุบาลีคุณูปมาจารย์) ชั้น ๑
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา
เลขที่ ๕๖๖ หมู่ที่ ๒ ตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ๕๖๐๐๐
๒. สมัครออนไลน์ ผ่านทางเว็บไซต์ มจร วิทยาเขตพะเยา คลิกลิงค์ –> <<สมัครออนไลน์>>
วันรับสมัครและการคัดเลือกเข้าศึกษา
วัน เดือน ปี | รายละเอียด/ขั้นตอน |
๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๖ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗ | จำหน่ายใบสมัครและรับสมัคร |
๔ มิถุนายน ๒๕๖๗ | ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ |
๘ มิถุนายน ๒๕๖๗ | สอบข้อเขียน (ป.โท) / (ป.เอก) ๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. สอบวัดความรู้เฉพาะสาขา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. สอบวัดผลความรู้ภาษาอังกฤษ ๑๕.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. สอบวัดความรู้เฉพาะสาขา (สอบเฉพาะผู้ไมีมีผลสอบภาษาอังกฤษ) |
๙ มิถุนายน ๒๕๖๗ | สอบสัมภาษณ์ (ป.โท) / (ป.เอก) เวลา ๐๙.๓๐ น. เป็นต้น |
๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ | ประกาศรายชื่อผู้สอบผ่านและมีสิทธิ์เข้าศึกษา |
๑๗-๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๗ | รายงานตัวและลงทะเบียนเรียน |
๒๒-๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ | เตรียมความพร้อมก่อนเรียนและพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ |
๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๗ | เปิดเรียน (ภาคปกติ) |
ค่าธรรมเนียมในการสมัคร
– ค่าใบสมัคร, ระเบียบการ และค่าธรรมเนียมการสมัคร ๘๐๐ บาท
การขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน
วันที่ ๑๗ – ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๗
นิสิตใหม่รายงานตัวและมอบตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต/ลงทะเบียน (พบอาจารย์ที่ปรึกษา)
การปฐมนิเทศนิสิต/ เปิดเรียน
รายละเอียด/ขั้นตอน | วัน เดือน ปี |
– เตรียมความพร้อมก่อนเรียน และพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ | ๒๒ – ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ |
– เปิดเรียน | ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๗ |
๑. อาจารย์ประจำหลักสูตรพระพุทธศาสนาและปรัชญา ในสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
๒. นักวิชาการด้านการศึกษาและพระพุทธศาสนา
๓. นักวิจัยทางพระพุทธศาสนา
๔. ที่ปรึกษาทั้งองค์กรภาครัฐและเอกชนเช่น ราชบัณฑิต นักเจรจา เป็นต้น
๕. นักพัฒนาสังคม เช่น วิปัสสนาจารย์ วิทยากรอบรมคุณธรรมจริยธรรม
๖. นักวิชาการอิสระ
๗. นักพัฒนาด้านกิจการคณะสงฆ์ เช่นพระสังฆาธิการ
๘. ประกอบอาชีพเดิมของตน เช่น แพทย์ นักธุรกิจ โดยนำแนวคิดและกระบวนการทางพระพุทธศาสนาไปสร้างความเปลี่ยนแปลงในวิชาชีพนั้นๆ