หลักสูตร พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
(Master of Arts Program)

เกี่ยวกับหลักสูตร

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  • ชื่อเต็มภาษาไทย : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
  • ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Master of Buddhism
  • ชื่อย่อภาษาไทย : พธ.ม.
  • ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : M.B.

 

ระบบการจัดการศึกษา

๑) แผน ก แบบ ก (๒) รวมค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร (แผน ก.) ๘๐,๐๐๐ บาท

จำนวน ๓๙ หน่วยกิต ตลอดหลักสูตร ๒ ปีการศึกษา

วัน-เวลา ในการดำเนินการเรียนการสอน

ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ โดยแบ่งเป็นภาคการศึกษาดังนี้

ภาคเรียนที่ ๑มิถุนายน – กันยายนเวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.
ภาคเรีนยที่ ๒พฤศจิกายน – มีนาคมเวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.
ภาคการศึกษาฤดูร้อนเมษายน – พฤษภาคมเวลา ๐๙.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.

เว็บไซต์

ระบบการพิจารณารับรองคุณวุฒิด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Accredit)>> Click <<

คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุลคุณวุฒิ/สาขาติดต่อ
ดร.นภาพร หงษ์ทอง
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • ศศ.ม. (ปรัชญา)
  • ศศ.บ. (ปรัชญา)
 
ผศ.ดร.ชูชาติ สุทธะ
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • M.A. (Philosophy)
  • พธ.บ. (รัฐศาสตร์)
  • ป.ธ.๕
 
ผศ.ดร.พงษ์ประภากรณ์ สุระรินทร์
  • Ph.D (Philosophy and Religion)
  • M.A. (philosophy and Religions)
  • ศน.บ. (ปรัชญาเปรียบเทียบ)
  • ป.ธ.๕
 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ที่ ชื่อ-ฉายา/นามสกุลคุณวุฒิ/สาขาติดต่อ
ผศ.ดร.ชูชาติ สุทธะ
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • M.A. (Philosophy)
  • พธ.บ. (รัฐศาสตร์)
 
ผศ.ดร.พงษ์ประภากรณ์ สุระรินทร์
  • Ph.D (Philosophy and Religion)
  • M.A. (Philosophy and Religions)
  • ศน.บ. (ปรัชญาเปรียบเทียบ)
  • ป.ธ.๕
 
ดร.นภาพร หงษ์ทอง
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • ศศ.ม. (ปรัชญา)
  • ศศ.บ. (ปรัชญา)
 
 รศ.วันชัย พลเมืองดี
  • M.A.(Buddhist Studies)
  • พธ.บ.(ศาสนา)
 
พระสุธีรัตนบัณฑิต, รศ. ดร.
  • พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
  • พช.ม.(พัฒนาสังคม)
  • ร.บ. (รัฐศาสตร์)
 
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร, รศ.ดร.
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา)
  • พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
 
รศ.ดร.ประพันธ์ ศุภษร
  • พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • ศศ.ม. (พุทธศาสนศึกษา)
  • พธ.บ. (ศาสนา)
 
ผศ.ดร.แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม
  • พธ.ด.(พระพุทธศาสนา)
  • พธ.ม.(พระพุทธศาสนา)
  • ศศ.บ.(ภาษาอังกฤษ)
  • ศศ.บ.(ภาษาไทย)
  • บศ.๙ (ภาษาบาลี)
  • ป.อบ.(อภิธรรมบัณฑิต)
 

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา

๑. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา หรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษารับรอง และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓.๐๐
๒. กรณีสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ ต้องมีประสบการณ์ทำงานเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี
๓. สำเร็จการศึกษาระดับเปรียญธรรม ๙ ประโยค หรืออภิธรรมบัณฑิต สำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัติอื่นที่นอกเหนือจากคุณสมบัติทั้ง ๓ ข้อ อาจได้รับการพิจารณาให้สามารถเข้าศึกษาได้ ทั้งนี้โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

การรับสมัคร

 

เอกสารประกอบการรับสมัคร

สำเนาใบปริญญาบัตรและใบแสดงผลคะแนนวิชาระดับปริญญาตรีจำนวน ๒ ชุด
สำเนาหนังสือสุทธิ สำหรับพระภิกษุ/สามเณร
หรือสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน/ข้าราชการ สำหรับคฤหถัสถ์
จำนวน ๒ ฉบับ
สำเนาทะเบียนบ้านจำนวน ๒ ฉบับ
รูปถ่ายขนาด ๑ นิ้ว สำหรับติดใบสมัครและบัตรประจำตัวผู้สมัครที่ติดรูปถ่ายจำนวน ๔ รูป
หลักฐานอื่น (ถ้ามี) เช่น สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุลจำนวน ๒ ชุด
ผลคะแนนภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง ซึ่งมีผลการสอบอายุไม่เกิน ๒ ปี (ถ้ามี) 

สถานที่รับสมัคร

๑. สำนักงานบัณฑิตศึกษา อาคารเรียนรวม (พระอุบาลีคุณูปมาจารย์) ชั้น ๑
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา
เลขที่ ๕๖๖ หมู่ที่ ๒ ตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ๕๖๐๐๐
๒. สมัครออนไลน์ ผ่านทางเว็บไซต์ มจร วิทยาเขตพะเยา คลิกลิงค์ –> <<สมัครออนไลน์>>

วันรับสมัครและการคัดเลือกเข้าศึกษา

วัน เดือน ปีรายละเอียด/ขั้นตอน
๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๖ –  ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗จำหน่ายใบสมัครและรับสมัคร
๔ มิถุนายน ๒๕๖๗ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ
๘ มิถุนายน ๒๕๖๗สอบข้อเขียน (ป.โท) / (ป.เอก)
๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. สอบวัดความรู้เฉพาะสาขา
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. สอบวัดผลความรู้ภาษาอังกฤษ
๑๕.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. สอบวัดความรู้เฉพาะสาขา
(สอบเฉพาะผู้ไมีมีผลสอบภาษาอังกฤษ)
๙ มิถุนายน ๒๕๖๗สอบสัมภาษณ์ (ป.โท) / (ป.เอก)
เวลา ๐๙.๓๐ น. เป็นต้น
๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๗ประกาศรายชื่อผู้สอบผ่านและมีสิทธิ์เข้าศึกษา
๑๗ – ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๗รายงานตัวและลงทะเบียนเรียน
๒๒ – ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๗เตรียมความพร้อมก่อนเรียนและพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่
๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๗เปิดเรียน (ภาคปกติ)

ค่าธรรมเนียมในการสมัคร

– ค่าใบสมัคร, ระเบียบการ และค่าธรรมเนียมการสมัคร  ๕๐๐ บาท

การขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน

วันที่ ๑๗ – ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๗
นิสิตใหม่รายงานตัวและมอบตัวขึ้นทะเบียนเป็นนิสิต/ลงทะเบียน (พบอาจารย์ที่ปรึกษา)

การปฐมนิเทศนิสิต/ เปิดเรียน

รายละเอียด/ขั้นตอนวัน เดือน ปี
– เตรียมความพร้อมก่อนเรียน และพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่๒๒ – ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๗
– เปิดเรียน๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๗

 

 แนวทางการประกอบอาชีพ

๑. เป็นอาจารย์สอนพระพุทธศาสนาในสถาบันการศึกษา
๒. เป็นข้าราชการในกรมการศาสนา
๓. เป็นข้าราชการในสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
๔. เป็นอนุศาสนาจารย์ ๔ เหล่าทัพและอนุศาสนาจารย์กรมราชทัณฑ์
๕. เป็นนักวิชาการอิสระและวิทยากรอบรมทางพระพุทธศาสนา